กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/938
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorมลลิกา ศศานนท์en_US
dc.contributor.authorสุพัฒพงศ์ แย้มอิ่มen_US
dc.contributor.authorวาสนา จาตุรัตน์en_US
dc.date.accessioned2022-06-01T02:49:39Z-
dc.date.available2022-06-01T02:49:39Z-
dc.date.issued2565-05-30-
dc.identifier.citationสาขาวิชาการเมืองการปกครองen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/938-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการศึกษาของเทศบาลตำบลวัดประดู่ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ของการบริหารการศึกษาของเทศบาลตำบลวัดประดู่ 3) เพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนาการบริหารการศึกษาของเทศบาล ตำบลวัดประดู่ ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้ปกครองของนักเรียนที่ศึกษาในสถานศึกษาในสังกัดเทศบาล ตำบลวัดประดู่ จำนวน 344 คน และผู้ให้ข้อมูลเชิงคุณภาพ จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบ สัมภาษณ์ โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า การศึกษาความคิดเห็นผู้ปกครองที่มีต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัด เทศบาลตำบลวัดประดู่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านบุคลากร ด้านอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร และด้านการมีส่วน ร่วมและส่งเสริมสนับสนุน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย มีความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก และปัจจัยภายในมีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลตำบล วัดประดู่ อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทั้ง 6 ด้าน ทั้งนี้นายกเทศมนตรีและผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่ชัดเจน มีการกำกับการปฏิบัติงานของบุคคลากรภายในสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด และมีนโยบายที่จะส่งเสริม บุคลากรให้มีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงสถานศึกษาตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม มีความสะอาด ปลอดภัยและมีพื้นที่ เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมที่บุคคลากรของสถานศึกษาจัดให้เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ซึ่งแนวทางการพัฒนาการบริหารการศึกษาของเทศบาลตำบลวัดประดู่ ได้แก่ ควรมีการกำหนดและแถลงนโยบาย เกี่ยวกับการสรรหาครูและบุคลากรทางการศึกษารวมถึงแนวทางการจัดการศึกษาที่ชัดเจน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้าน การทำงานเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการทำงานร่วมกัน สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับสถานศึกษาใกล้เคียงเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ และเพื่อเป็นแนวทางใหม่ๆในการจัดการศึกษา และสนับสนุนให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษามีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและแรงจูงใจในการทำงานen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherการค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.subjectการบริหารจัดการสถานศึกษาen_US
dc.subjectประสิทธิภาพen_US
dc.subjectประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาen_US
dc.titleประสิทธิภาพการบริหารการศึกษาของเทศบาลตำบลวัดประดู่ อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeEfficiency of School Administration of Watpradoo Subdistrict Municipality, Muang Suratthani District, Suratthani Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Politics and Government : Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is_pol_65Monlika.pdf1.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น