กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/764
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพรสุดา แก้วสุวรรณen_US
dc.contributor.authorชูศักดิ์ เอกเพชรen_US
dc.contributor.authorสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์en_US
dc.date.accessioned2020-03-31T06:55:58Z-
dc.date.available2020-03-31T06:55:58Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/764-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติปัจจุบันและความต้องการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงพัฒนาของครู 2) เพื่อพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของครู 3) ประเมินผลการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของครู และประเมินการศึกษาความพึงพอใจของครูในการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูโรงเรียน วัดประตูใหญ่ ในการศึกษา 2562 จานวน 19 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย แบบสอบถาม แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม คู่มือการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ แบบประเมินพฤติกรรมภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการปฏิบัติภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของครูโรงเรียนวัดประตูใหญ่โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางทั้งด้านวิสัยทัศน์ ด้านการมีจินตนาการ ด้านการมีแรงจูงใจ ด้านความยืดหยุ่น ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา และด้านการปฏิบัติสู่เป้าหมาย และกลุ่มเป้าหมายมีความต้องการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์อยู่ในระดับมาก ทั้ง 6 ด้าน 2) ผลการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของครู โดยใช้การประชุมเชิงปฏิบัติการ พบว่า ด้านการมีวิสัยทัศน์ กลุ่มเป้าหมายสามารถระบุเป้าหมายที่ชัดเจนสามารถรับรู้และเข้าใจถึงวิสัยทัศน์ ด้านความยืดหยุ่น กลุ่มเป้าหมายรู้และเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเมื่อเผชิญกับปัญหาและมีแนวทางในการแก้ไข ด้านการมีแรงจูงใจ กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้ถึงความต้องการของตนเอง พร้อมทั้งยังสามารถหาแนวทางให้บรรลุความต้องการได้ ด้านการมีจินตนาการ กลุ่มเป้าหมายมีความกระตือรือร้น คิดได้หลายทิศทางหลายแง่มุม มีลักษณะของความคิดแปลกใหม่ มีความสามัคคีปรองดองช่วยให้งานเกิดความสาเร็จ ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการวิเคราะห์สังเคราะห์และการจัดการกับปัญหาต่างๆและสามารถใช้ความรู้กับประสบการณ์ที่ผ่านมาแก้ปัญหาได้ ด้านการปฏิบัติสู่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายรับรู้ความสามารถของตนเองช่วยให้เกิดการเรียนรู้และหาแนวทางในการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ และ 3) การประเมินการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์พบว่าค่าเฉลี่ยพฤติกรรมภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของครูโรงเรียนวัดประตูใหญ่หลังพัฒนาสูงกว่าก่อนพัฒนา และกลุ่มเป้าหมายการวิจัยมีระดับความพึงพอใจในการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.description.sponsorshipครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectภาวะผู้นาของครูen_US
dc.subjectการพัฒนาครูen_US
dc.titleการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของครูโรงเรียนวัดประตูใหญ่ อาเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2en_US
dc.title.alternativeCREATIVE LEADERSHIP DEVELOPMENT OF TEACHERS AT WATPRATOO YAI SCHOOL, THA CHANG, SURATTHANI, UNDER PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Pornsuda.pdf318.03 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น