กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1078
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจักรพงษ์ บัวขันธ์en_US
dc.contributor.authorจิตรดารมย์ รัตนวุฒิen_US
dc.date.accessioned2025-01-02T02:23:46Z-
dc.date.available2025-01-02T02:23:46Z-
dc.date.issued2568-01-02-
dc.identifier.citationบทความ, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1078-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการดำเนินคดีทุจริต และลักษณะความผิดอาญาร้ายแรง (2) หลักเกณฑ์กฎหมายในการดำเนินคดีทุจริตของคณะกรรมการ ป.ป.ช. กรณีเป็นความผิดอาญาร้ายแรง ด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ จากการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 61 และมาตรา 63 รับรองอำนาจให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. สามารถมอบหมายให้พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดำเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ หากพิจารณาเห็นว่าเรื่องที่ได้รับมานั้นเป็นเรื่องไม่ร้ายแรง แต่กฎหมายมิได้กำหนดไว้ซึ่งหลักเกณฑ์การพิจารณาว่ากรณีเช่นไรจึงจะถือว่าเป็นความผิดลักษณะร้ายแรง หรือไม่ร้ายแรง คงปรากฏเพียงแนวปฏิบัติภายในตามคำสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ 1239/2561 เรื่อง แนวทางในการพิจารณาเรื่องกล่าวหาที่มีลักษณะเป็นความผิดร้ายแรง ลงวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2561 และคำสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ 1240/2561 เรื่อง กำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งดำรงตำแหน่งตั้งแต่อำนวยการระดับสูงหรือเทียบเท่าลงมาและลักษณะความผิดที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. สมควรดำเนินการ ลงวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เท่านั้น โดยพิจารณาจาก 2 หลักเกณฑ์ด้วยกัน คือ หลักเกณฑ์การพิจารณาจากพฤติการณ์ทางคดี และหลักเกณฑ์การพิจารณาจากตำแหน่งหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งหลักเกณฑ์ดังกล่าวคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้นำมาถือปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน ผู้ศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะว่า ควรนำเอาหลักเกณฑ์การพิจารณาลักษณะความผิดร้ายแรงตามคำสั่งของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาปรับใช้ โดยการตราเป็นอนุบัญญัติ “ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ว่าด้วยเรื่องกล่าวหาที่มีลักษณะเป็นความผิดร้ายแรง พ.ศ. ....” เพื่อใช้บังคับเป็นกรอบหลักเกณฑ์โดยกฎหมายในการพิจารณาถึงลักษณะความผิดร้ายแรงอย่างเป็นระบบen_US
dc.description.sponsorshipคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectคดีทุจริตen_US
dc.subjectคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติen_US
dc.subjectความผิดอาญาร้ายแรงen_US
dc.titleปัญหาทางกฎหมายในการกำหนดลักษณะความผิดร้ายแรง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561en_US
dc.title.alternativeLegal problems in determining the nature of serious offenses according to the Act Constitution on Prevention and Suppression of Corruption, B.E. 2018en_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Laws : Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Chakkrapong_Law68.pdfบทความการค้นคว้าอิสระ, จักรพงษ์ บัวขันธ์344.08 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น