กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1000
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชยาภรณ์ ภูริสิราสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorจิตรดารมย์ รัตนวุฒิen_US
dc.date.accessioned2023-01-10T03:07:33Z-
dc.date.available2023-01-10T03:07:33Z-
dc.date.issued2566-01-10-
dc.identifier.citationบทความ, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์en_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1000-
dc.descriptionบทความ, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีและประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับเพศสภาพ 2) เพื่อศึกษากฎหมายที่คุ้มครองสิทธิในการแต่งกายตามเพศสภาพในสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริม สิทธิในการแต่งกายตามเพศสภาพ โดยการศึกษาเชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการวิเคราะห์เอกสารเพื่อวิเคราะห์สถานภาพทางกฎหมายความเท่าเทียมกันของเพศสภาพ โดยศึกษาจากหนังสือ ต ารา บทความ รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านความเท่าเทียมกันของเพศสภาพ รวมทั้งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ปรากฏอยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ตลอดจนคำพิพากษา และคำวินิจฉัยของศาล เพื่อให้ได้มาซึ่งการคุ้มครองสิทธิการแต่งกายตามเพศสภาพในสถานศึกษา จากการศึกษาพบว่า กฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งได้แก่ หลักการยอกยาการ์ตา ว่าด้วยการใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ในประเด็นวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (Yogyakarta Principles, The Application of International Human Rights Law in Relation to Sexual Orientation and Gender Identity) ซึ่งมีหลักการทั้งหมด 29 ข้อนั้น มีหลักการที่สำคัญอยู่ 2 ประการ กล่าวคือ ประการแรก อย่าเลือกปฏิบัติ เพราะการกระท าทางเพศเป็นสิ่งส่วนตัว บุคคลจะเป็นอะไรก็เป็นสิทธิของบุคคลนั้น อยากให้เคารพในสิ่งที่บุคคลนั้นเป็น และประการที่สอง อย่ารุนแรงต่อบุคคลใด ไม่ว่าบุคคลนั้นจะเป็นอะไรก็ตาม ไม่ได้ขอให้ชอบหรือไม่ชอบ แต่อย่าปฏิบัติรุนแรงกับบุคคลอื่น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความยอมรับต่อความชอบด้วยกฎหมายในเพศวิถีของกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ และกฎหมายในต่างประเทศ อันได้แก่ ประเทศอังกฤษ มีพระราชบัญญัติความเสมอภาค Equality Act 2010 ที่ได้ให้ความคุ้มครองทั้งรูปแบบการเลือกปฏิบัติโดยตรงและโดยอ้อม ประเทศออสเตรเลีย มีการออกมาตรการเกี่ยวกับการคุ้มครองการเลือกปฏิบัติ ซึ่งออกมาเป็นกฎหมายรัฐบาลกลางที่ใช้บังคับทั่วประเทศ (Federal Law) และประเทศญี่ปุ่น มีกฎหมายพื้นฐานเพื่อสังคมที่มีความเสมอภาคทางเพศ คือ กฎหมายพื้นฐานสำหรับสังคมที่เท่าเทียมทางเพศ (กฎหมายฉบับที่ 78 ของปี 2542) หรือ The Basic Law for a Genderequal Society (LAW No.78 of 1999) สำหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการตราพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ที่ส่งเสริมสิทธิความเท่าเทียมระหว่างเพศ แต่มีพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 เป็นอุปสรรค จึงเห็นควรแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 เพื่อให้สิทธินักเรียนแต่งเครื่องแบบนักเรียนตามเพศสภาพในสถานศึกษาต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectเพศสภาพen_US
dc.subjectเพศวิถีen_US
dc.subjectสถานศึกษาen_US
dc.subjectสิทธิen_US
dc.titleสิทธิการแต่งกายตามเพศสภาพในสถานศึกษาen_US
dc.title.alternativeThe Right To Dress According To Gender At Academyen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Laws : Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is66(law)Chayaporn.pdfบทความวิจัย, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต584.79 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น