กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/980
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศันสนีย์ เชาวนกุลen_US
dc.contributor.authorมัทนียา พงศ์สุวรรณen_US
dc.contributor.authorสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์en_US
dc.date.accessioned2022-12-06T03:17:07Z-
dc.date.available2022-12-06T03:17:07Z-
dc.date.issued2565-12-06-
dc.identifier.citationบทความ, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/980-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอน 2) พัฒนาครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน และ 3) ประเมินผลความพึงพอใจครูในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 4 ขั้นตอน 2 วงรอบคือ 1) การวางแผน 2) การปฏิบัติการ 3) การสังเกตผล และ 4) การสะท้อนผล กลุ่มเป้าหมายได้แก่ ครูโรงเรียนพิชัยรัตนาคาร ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามสภาพและความต้องการในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการของครู 3) คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) แบบประเมินการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและ 5) แบบประเมินความพึงพอใจของครูต่อการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า t-test สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา จัดหมวดหมู่ของเนื้อหาและนำเสนอโดยความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาสภาพและความต้องการในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยด้านสภาพการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนมีค่าเฉลี่ย 3.87 และด้านความรู้พื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมีค่าเฉลี่ย 3.80 และความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูผู้เข้ารับการอบรม มีพฤติกรรมการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการอยู่ในระดับดีเยี่ยมและผลการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า คะแนนก่อนการพัฒนาเฉลี่ย 12.07 คะแนน คะแนนหลังการพัฒนาเฉลี่ย 16.73 คะแนน โดยมีความก้าวหน้าหลังการพัฒนา ร้อยละ 24.00 มีผลสัมฤทธิ์ทางการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และ 3) ผลการประเมินการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและครูมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมากen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectการพัฒนาครูen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
dc.subjectวิจัยปฏิบัติการen_US
dc.titleการพัฒนาศักยภาพครูในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนองen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Teachers’ Potential in Utilizing Technology for Learning Management Phichai Rattanakhan School under The Secondary Educational Service Area Office Phang Nga Phuket Ranongen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is_adm Sunsanee65.pdfบทความ812.03 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น