กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/976
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสัญชัย ทองสารไตรen_US
dc.contributor.authorบรรจง เจริญสุขen_US
dc.contributor.authorญานิศา บุญจิตร์en_US
dc.date.accessioned2022-08-27T01:36:57Z-
dc.date.available2022-08-27T01:36:57Z-
dc.date.issued2565-08-26-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/976-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 2) เพื่อพัฒนาคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และ3) เพื่อประเมินความเหมาะสมของคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ การวิจัยมี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาความต้องการคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 69 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความต้องการพัฒนาคู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน คือค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาคู่มือการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน และขั้นตอนที่ 3 ประเมินความเหมาะสมของคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 69 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินความเหมาะสมคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาความต้องการพัฒนาคู่มือระบบดูแลดูช่วยนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยได้แก่ ด้านผลผลิตมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือ ด้านกระบวนการ และด้านปัจจัยนำเข้ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำสุด 2) ผลการพัฒนาคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ในโรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สังเคราะห์องค์ประกอบทั้ง 3 ด้านมาจัดทำคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ในโรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนนำ ส่วนภาคผนวก 3) ผลจากการประเมินความเหมาะสมในการนำไปใช้ของคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ในโรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มีค่าดัชความสอดคล้องระหว่าง 0.60-1.00 โดยรวมอยู่ในระดับมากเรียงลำดับค่าเฉลี่ยได้แก่ ด้านการใช้ภาษามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ด้านการนำไปใช้ และด้านเนื้อหาด้านรูปแบบen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย และคณะครุุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectการพัฒนาคู่มือen_US
dc.subjectระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนen_US
dc.subjectความบกพร่องทางสติปัญญาen_US
dc.titleการพัฒนาคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางสติปัญญา โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูลสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Student Care and Support System Handbook for Children with Mental Retardation of Chumphonpanyanukul School, Special Education Bureauen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is_adm65_Sunchai.pdfบทความ, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต823.7 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น