กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/927
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorประทุมพร วีระสุขen_US
dc.contributor.authorชุติมา สัจจานันท์th_TH
dc.contributor.authorชูศักดิ์ เอกเพชรth_TH
dc.date.accessioned2022-03-17T03:30:25Z-
dc.date.available2022-03-17T03:30:25Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/927-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการบริหารและการดาเนินงานการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (2) ปัญหาและอุปสรรคการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และ (3) แนวทางการพัฒนา การบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคใต้ การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี แหล่งข้อมูลหลักคือ เอกสารเกี่ยวกับการบริการวิชาการ จานวน 150 เรื่อง ผู้อานวยการสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 5 คน ผู้รับผิดชอบโครงการการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น จานวน 122 คน และผู้ทรงคุณวุฒิเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กาหนด จานวน 5 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูล แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคใต้ ทุกแห่งระบุเรื่องการบริการวิชาการหรือการพัฒนาท้องถิ่นไว้ในยุทธศาสตร์ของสานัก และส่วนใหญ่ระบุไว้ในพันธกิจแต่ไม่ได้ระบุไว้ในนโยบายและวิสัยทัศน์ โครงการบริการวิชาการส่วนใหญ่ได้รับงบประมาณแผ่นดินแต่ไม่ต่อเนื่องทุกปี มีรูปแบบการบริหารโครงการบริการวิชาการโดยสานักมอบหมายงานให้หน่วยงานจัดทาข้อเสนอโครงการ พิจารณาอนุมัติโดยผู้อานวยการสานัก ผู้รับผิดชอบโครงการมีตาแหน่งบรรณารักษ์จานวนใกล้เคียงกับตาแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ และจัดบริการวิชาการในลักษณะไม่คิดค่าใช้จ่าย ในรูปแบบการฝึกอบรม ขอบข่ายเนื้อหาเน้นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) ปัญหาและอุปสรรคสาคัญ ด้านผู้บริหารมีปัญหางบประมาณไม่ต่อเนื่อง ไม่เพียงพอ บุคลากรมีภาระงานประจามากและขาดแรงจูงใจ ผู้รับผิดชอบโครงการการบริการวิชาการมีปัญหางบประมาณการดาเนินงานไม่ต่อเนื่อง การเบิกจ่ายงบประมาณ ภาระงานประจามาก และขาดแรงจูงใจ (3) แนวทางการพัฒนาการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และการจัดการการบริการวิชาการ ที่มุ่งสู่การเป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การบริหารจัดการในรูปแบบหุ้นส่วนความร่วมมือ การบูรณาการองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสนับสนุนพันธกิจการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืนในระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัล โดยมีพลังขับเคลื่อนความสาเร็จจากมหาวิทยาลัย เครือข่ายของมหาวิทยาลัย และเครือข่ายสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectบริการวิชาการen_US
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาen_US
dc.subjectการพัฒนาท้องถิ่นen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏen_US
dc.titleการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคใต้en_US
dc.title.alternativeAcademic Services for Local Development of the Office of Academic Resource and Information Technology, Rajabhat Universities in Southern Regionen_US
dc.typeOtheren_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext-Thesis.pdfAcademic Services for Local Development of the Office of Academic Resource and Information Technology, Rajabhat Universities in Southern Region5.07 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น