กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/868
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสาวิตรี รัตนะen_US
dc.contributor.authorวรรณวิชณีย์ ทองอินทราชen_US
dc.date.accessioned2021-06-21T02:17:58Z-
dc.date.available2021-06-21T02:17:58Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/868-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยในวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาโซ่อุปทานผลผลิตทุเรียน ด้วยการวิเคราะห์ ตัวแบบจำลองโซ่อุปทาน ในเขตอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้มี 2 กลุ่ม คือ เกษตรกรที่ทำสวนทุเรียนในอำเภอท่าแซะ จำนวน 30 คน และพ่อค้าคนกลาง ที่รับซื้อทุเรียนในอำเภอท่าแซะ จำนวน 10 คน รวมรวมจำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยใช้แนวทางการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการพรรณนาข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์สรุปอุปนัย เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์เพื่อหาบทสรุปร่วมกันหรือเหตุการณ์นั้น ผลการศึกษาพบว่า ต้นน้ำ กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนมีการจัดการตามแนวคิด SCOR Model ดังนี้ 1) มีการวางแผนการปลูกทุเรียนโดยเลือกพื้นที่ เตรียมแหล่งน้ำ 2) การจัดหาแหล่งวัตถุดิบหาความรู้จากผู้ที่มีความรู้และมีประสบการณ์ในการปลูกทุเรียนในพื้นที่ 3) กระบวนการผลิตทุเรียนมีการจดทำบัญชีการเริ่มต้นในวันที่เริ่มปลูก 4) จำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลางที่เข้าไปซื้อทุเรียนในสวน จำนวน 30 % และไปส่งที่แผงกับพ่อค้าพรับซื้อทุเรียน จำนวน 70% 5) การส่งคืนผลผลิตทุเรียน คิดเป็น 5 % ของอัตราการส่งคืนทุเรียนจากพ่อค้าที่รับซื้อไป 6) การสนับสนุนดำเนินงานมีการเตรียมเงินหมุนเวียน 40% เป็นเงินสำรอง และกลางน้ำ กลุ่มผู้รับซื้อผลผลิตทุเรียน มีการจัดการตามแนวคิด SCOR Model ดังนี้ 1) มีการวางแผนรับซื้อผลผลิตทุเรียน จำนวน 5,000 ตัน/1 ครั้ง 2) การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ มีการติดต่อซื้อทุเรียนผ่านทางโทรศัพท์และลงไปดูทุเรียนในสวนเหมาสวน 3) กระบวนการจำหน่าย ส่งเข้าล้งทุเรียน จำนวน 50 % ขายปลีกให้กับผู้บริโภค จำนวน 50% 4) ระบบการจำหน่ายกำหนดราคาตามการคัดเกรดเข้าไปตัดเหมาซื้อในสวนทุเรียนของเกษตรกร และเกษตรกรมาส่งที่ร้านเอง 5) การส่งคืนทุเรียนที่รับซื้อไปจากเกษตรกร คิดเป็น 5 % สาเหตุเพราะตัดทุเรียนอ่อน และ 6) มีการบริหารจัดการเงินลงทุน ประกอบด้วย เงินทุนในการซื้อผลผลิตทุเรียน มีการประมาณการเงินลงทุน โดยการวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย เช่นค่าแรง ค่าขนส่ง ค่าน้ำมัน และค่าใช้จ่ายอื่นๆen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.subjectโซ่อุปทานen_US
dc.subjectทุเรียนen_US
dc.subjectSCOR Modelen_US
dc.titleการจัดการโซ่อุปทานผลผลิตทุเรียนอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพรen_US
dc.title.alternativeSUPPLY CHAIN MANAGERMENT OF DURIAN PRODUCTS IN THASAE DISTRICT, CHUMPHON PROVINCEen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Business Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is64_sawitree-mba.pdf733.33 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น