กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/849
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอมรรัตน์ สายชนะพันธ์en_US
dc.contributor.authorสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์en_US
dc.contributor.authorบรรจง เจริญสุขen_US
dc.date.accessioned2021-04-19T03:26:24Z-
dc.date.available2021-04-19T03:26:24Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/849-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายกาญจนดิษฐ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายกาญจนดิษฐ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 3) เพื่อประเมินผลการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายกาญจนดิษฐ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ เคมมิสและแม็คแทกการ์ด ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การปฏิบัติการ การสังเกตการณ์ และการสะท้อนผล ดาเนินการ 2 วงรอบ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ครูโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายกาญจนดิษฐ์ ปีการศึกษา 2563 จานวน 8 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม แบบทดสอบ และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการสังเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายกาญจนดิษฐ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย เรียงลาดับได้ คือ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ด้านการวัดและประเมินผล และด้านรูปแบบของกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา พบว่า ยังไม่ได้รับพัฒนาอย่างจริงจัง ผู้รับผิดชอบยังไม่ค่อยให้ความสาคัญ ขาดการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง การใช้สื่อและเทคโนโลยีมีน้อย ครูส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับพัฒนาทาให้ขาดทักษะการจัดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง 2) ผลการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการรู้แบบสะเต็มศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายกาญจนดิษฐ์ ได้ดาเนินการโดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ครูผู้สอน ฝึกเขียนแผนการสอนและให้ฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษาโดยมีการติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครูในชั้นเรียน 3) ผลการประเมินผลการพัฒนาศักยภาพครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา พบว่า ครูมีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการสูงขึ้น ครูมีทักษะในการจัดการเรียนการสอน และมีความพึงพอใจต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาศักยภาพครูen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาen_US
dc.subjectโรงเรียนขนาดเล็กen_US
dc.titleการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก เครือข่ายกาญจนดิษฐ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1en_US
dc.title.alternativeThe Development of Teachers’ Potential in STEM Learning Management for SmallSize Schools in Kanchanadit Network under The Primary EducationalService AreaOffice SuratThani 1en_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2amorat_is_ed64.pdf1.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น