กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/807
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอานิตย์ษา คงศริen_US
dc.contributor.authorสิญาธร นาคพินen_US
dc.date.accessioned2021-03-09T06:26:16Z-
dc.date.available2021-03-09T06:26:16Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/807-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้ในธุรกิจเวดดิ้งของคู่รักวัยทำงานในจังหวัดกระบี่ ส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจเวดดิ้ง การยอมรับบริการจากธุรกิจเวดดิ้งของคู่รักวัยทำงานในจังหวัดกระบี่ และสมการโครงสร้างของสื่อสังคมออนไลน์และส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งต่อผลการยอมรับบริการจากธุรกิจเวดดิ้งของคู่รักวัยทำงานจังหวัดกระบี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ คู่รักวัยทำงานในจังหวัดกระบี่ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นด้านสื่อสังคมออนไลน์ .891 ส่วนประสมทางการตลาด .910 ด้านการยอมรับใช้บริการ .845 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติ การค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 35 ปี ศาสนาพุทธ มีภูมิลำเนาในอำเภอเมืองกระบี่ ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพรับราชการ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท งบประมานที่กำหนดไว้ต่ำกว่า 20,000 บาท ระยะเวลาในการเตรียมงานล่วงหน้า 2-5 เดือน สินค้าและบริการเลือกใช้มากที่สุด คือ ชุดเจ้าบ่าวเจ้าสาว ความสำคัญสื่อสังคมออนไลน์มากที่สุดคือ Facebook (เฟซบุ๊กซ์) และความสำคัญต่อสื่อสังคมออนไลน์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญด้านการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการผ่านสื่อสังคมออนไลน์มากที่สุด ความสำคัญส่วนประสมทางการตลาดโดยภาพรวมระดับมากที่สุด โดยให้ความสำคัญด้านราคาและด้านบุคลากรมากที่สุด ความสำคัญต่อการยอมรับบริการโดยภาพรวมระดับมากที่สุด ให้ความสำคัญด้านการเข้ามาที่ร้านเวดดิ้งด้วยตนเองมากที่สุดและผลจากโมเดลสมการโครงสร้างพบว่าสื่อสังคมออนไลน์และส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลการยอมรับบริการจากธุรกิจเวดดิ้งของคู่รักวัยทำงานในจังหวัดกระบี่ตามสมมติฐาน โดยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (X2/df) มีค่าเท่ากับ 4.533 ค่า p-value มีค่าเท่ากับ.000 ค่า RMSEA มีค่าเท่ากับ .094 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องเปรียบเทียบ (CFI) มีค่าเท่ากับ .850 ค่าดัชนีที่แสดงการยอมรับของโมเดล (TLI) มีค่าเท่ากับ .834 และค่าดัชนีความสอดคล้องสัมพันธ์ (NFI) มีค่าเท่ากับ .816en_US
dc.description.sponsorshipการค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectส่วนประสมทางการตลาดen_US
dc.subjectการยอมรับบริการen_US
dc.subjectธุรกิจเวดดิ้ง การค้นคว้าอิสระ 1 บัen_US
dc.titleสมการโครงสร้างสื่อสังคมออนไลน์และส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับบริการจากธุรกิจเวดดิ้งของคู่รักวัยทำงานในจังหวัดกระบี่en_US
dc.title.alternativeThe Structural Equation Model of Social Media and Marketing Mix influencing Working – Age Couples in Krabi Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Business Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
arnissa is_mba64.pdf1.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น