กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/800
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนาฏยาณี เทพนรินทร์en_US
dc.contributor.authorบรรจง เจริญสุขen_US
dc.contributor.authorสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์en_US
dc.date.accessioned2021-03-09T02:12:10Z-
dc.date.available2021-03-09T02:12:10Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/800-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ 3) เพื่อประเมินผลการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนเขาพนมแบกศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของเคมมิสและแม็คแทกการ์ท ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Planning) การปฏิบัติการ (Action) การสังเกตการณ์ (Observation) และการสะท้อนผล (Refection) จานวน 2 วงรอบ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ครูผู้สอน จานวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินความรู้ความเข้าใจ และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียน เขาพนมแบกศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน พบว่า โดยภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.92 ด้านการคัดกรองนักเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ปัญหา ด้านการส่งต่อนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลและด้านการส่งเสริมพัฒนานักเรียนตามลาดับ การพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดาเนินการโดยใช้การอบรมเชิงปฏิบัติการพบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการสูงกว่าก่อนการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีคะแนนสูงขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 6.37 และกิจกรรมการปฏิบัติ พบว่า ครูมีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการมากกว่าก่อนการอบรมเชิงปฏิบัติการอยู่ในระดับมากที่สุดโดยครูมีส่วนร่วมในการปฏิบัติทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับดีมาก และการประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดอยู่ในระดับมากที่สุด ที่ค่าเฉลี่ย 4.56en_US
dc.description.sponsorshipการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิจัยปฏิบัติการen_US
dc.subjectการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูen_US
dc.subjectระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนen_US
dc.titleการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครูในการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนเขาพนมแบกศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพรen_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF TEACHERS’ PARTICIPATION IN THE OPERATION OF STUDENT CARE SYSTEM OF KHAO PHANOMBAEKSUEKSA SCHOOL UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE SURAT THANI CHUMPHONen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
natayanee is64.pdf989.59 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น