กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/798
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุดา เอ้งฉ้วนen_US
dc.contributor.authorนัฎจรี เจริญสุขen_US
dc.contributor.authorชูศักดิ์ เอกเพชรen_US
dc.date.accessioned2021-02-04T03:27:51Z-
dc.date.available2021-02-04T03:27:51Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/798-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประเมินบริบทตามตัวชี้วัดระดับความต้องการจาเป็นในการจัดทาโครงการและระดับความเป็นไปได้ของโครงการ 2) เพื่อประเมินปัจจัยนาเข้า ตามตัวชี้วัดระดับความเหมาะสมของบุคลากรและระดับความเหมาะสมของกิจกรรม 3) เพื่อประเมินกระบวนการตามตัวชี้วัดร้อยละของกิจกรรมที่ดาเนินการและร้อยละการติดตามโครงการ 4) เพื่อประเมินผลผลิตตามตัวชี้วัดความรู้เรื่องวินัยและความซื่อสัตย์นักเรียนที่มีวินัยและความซื่อสัตย์และความ พึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องได้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและครู โดยใช้การประเมินแบบซิปป์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนโรงเรียนบ้านตาขุนวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 จานวน 135 คน ครูผู้สอนจานวน 60 คน ผู้ปกครองนักเรียนจานวน 135 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง รวมทั้งหมด 339 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการวิจัยพบว่า ด้านบริบทของโครงการตามตัวชี้วัดความต้องการจาเป็นในการจัดทาโครงการมีผลอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านระดับความคิดเห็นในประเด็นการประเมินบริบทของโครงการตามตัวชี้วัดความเป็นไปได้ของโครงการ มีผลอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านปัจจัยนาเข้าของโครงการตามตัวชี้วัดความเหมาะสมของบุคลากรที่รับผิดชอบโครงการ ผลอยู่ในระดับมาก ระดับความคิดเห็นปัจจัยนาเข้าของโครงการ ตามตัวชี้วัดความเหมาะสมของกิจกรรม ผลอยู่ในระดับมาก ร้อยละของกิจกรรมที่ดาเนินการ อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละของการติดตามโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการเปรียบเทียบความรู้เรื่องวินัยและความซื่อสัตย์ของนักเรียน ก่อน – หลัง เข้าร่วมโครงการ นักเรียนมีความรู้เรื่องวินัยและความซื่อสัตย์เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการเปรียบเทียบการมีวินัยของนักเรียนก่อน – หลัง เข้าร่วมโครงการ พบว่า หลังจากเข้าร่วมโครงการแล้วนักเรียนมีวินัยเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการเปรียบเทียบความซื่อสัตย์ของนักเรียนก่อน - หลัง เข้าร่วมโครงการ พบว่านักเรียนมีความรู้ด้านความซื่อสัตย์เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการประเมินความพึงพอใจ ผู้ตอบแบบสอบถามทุกกลุ่มมีความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายกลุ่ม พบว่า กลุ่มที่มีความพึงพอใจเฉลี่ยมากที่สุด คือกลุ่มนักเรียนและกลุ่มผู้ปกครอง ส่วนกลุ่มที่มีความพึงพอใจเฉลี่ยมากคือกลุ่มครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานen_US
dc.description.sponsorshipสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectคุณธรรมen_US
dc.subjectจริยธรรมen_US
dc.subjectด้านวินัยและความซื่อสัตย์ของนักเรียนen_US
dc.titleประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ด้านวินัยและความซื่อสัตย์ของนักเรียน โรงเรียนบ้านตาขุนวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11en_US
dc.title.alternativeAn Evaluation of Moral and Ethical Development Program for Discipline and Honesty of Students at Bantakhunwittaya School under The Secondary Educational Service Area Office 11en_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
suda_IS_med64.pdf1.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น