กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/782
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธิดารัตน์ จันทร์สอน | en_US |
dc.contributor.author | อรุษ คงรุ่งโชค | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-11-01T01:56:20Z | - |
dc.date.available | 2020-11-01T01:56:20Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.citation | การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ | en_US |
dc.identifier.uri | http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/782 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางการเงินที่เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนหมอนทองได้รับเมื่อตัดสินใจ ปลูกทุเรียนหมอนทองและค้นหาวิธีการปลูกทุเรียนหมอนทองให้เกิดความยั่งยืนมากที่สุด ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ซึ่งใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi Structured Interview Approach) เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนหมอนทอง 397 ราย โดยการจัดตัวอย่างตามชั้นภูมิ (Stratified Sampling) การศึกษาประกอบด้วยการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกทุเรียนหมอนทองโดยใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางการเงิน คือ มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ (Net Present Value <NPV>) อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (Internal Back Period <PBP>) ระยะเวลาคืนทุน (Pay Back Period <PBP>) มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ (Economic Value Added <EVA>) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit Cost Ratio <BCR>) ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนหมอนทองมีเนื้อที่ปลูกทุเรียนหมอนทอง 11-20 ไร่ มีการปลูก 21-25 ต้นต่อไร่ โดยเกษตรกรมีการคัดเมล็ดพันธุ์เป็นอย่างดี เพื่อให้ได้มาซึ่งต้นทุเรียนที่มีความแข็งแรงทนทานต่อโรค ทำให้ต้นทุเรียนเกิดความยั่งยืน ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งความคุ้มค่าในทางการเงินเพื่อตัดสินใจปลูกทุเรียนหมอนทองในระยะเวลา 20 ปี โดยสรุปคือมีระยะคืนทุน (PBP)อยู่ที่ 8 ปี 25 ซึ่งระยะเวลาคืนทุนเป็นเครื่องมือในการประเมินความเป็นไปได้ของการลงทุนอย่างง่ายและไม่ซับซ้อน เป็นการประเมินที่รวดเร็ว ซึ่งในขณะที่อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (BCR) มีค่ามากกว่า 1 นับว่าเป็นค่าที่ยอมรับได้ที่นำไปสู่การตัดสินใจลงทุนในการปลูกทุเรียนหมอนทองอย่างคุ้มค่าและเกิดความยั่งยืนมากที่สุด | en_US |
dc.description.sponsorship | บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.publisher | บัณฑิตวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความคุ้มค่าท่างการเงิน | en_US |
dc.subject | การปลูกทุเรียนอย่างยั่งยืน | en_US |
dc.subject | ภาคใต้ตอนบน | en_US |
dc.title | ความคุ้มค่าของการปลูกทุเรียนหมอนทองอย่างยั่งยืนในเขตภาคใต้ตอนบน | en_US |
dc.title.alternative | THE WORTHWHILENESS OF SUSTAINABLE DURIAN CULTIVATION IN UPPER SOUTHERN REGION | en_US |
dc.type | Article | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Business Administration: Independent Study (IS) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Thidarat_mba63.pdf | 734.59 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น