กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/676
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพูลฉัตร วิชัยดิษฐ-
dc.contributor.advisorสนชัย ใจเย็น-
dc.contributor.advisor-
dc.contributor.authorปิยานันท์ นิ่มวุ่นen_US
dc.date.accessioned2019-06-18T06:57:42Z-
dc.date.available2019-06-18T06:57:42Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/676-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เปรียบเทียบ และศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของลูกจ้างในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคใต้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ลูกจ้างในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคใต้ 4 แห่ง จำนวน 217 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดย วิธีการคำนวณของ Taro Yamane จำนวน 145 คน โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์จาก ผู้บริหารที่เป็นรองอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย วิชาการ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายแผนและพัฒนา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและประเมินผลรองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ รองคณบดี คณะศึกษาศาสตร์รองคณบดีคณะศิลปะศาสตร์รวมทั้งสิ้น จำนวน 36 คน ใช้แบบสอบถามที่มีค่า ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ ได้แก่สถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของลูกจ้างในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต ภาคใต้โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ด้านสภาพที่ทำงานปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ด้านการพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว ด้านการปฏิบัติงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับผู้อื่น ภายในองค์กร ด้านลักษณะการบริหารงาน ด้านสิทธิส่วนบุคคล ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง ในการทำงาน ด้านผลตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ผลการเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงาน ของลูกจ้างในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคใต้ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน+ง เงินเดือน ระยะเวลาการทำงาน มีคุณภาพชีวิตการทำงานของลูกจ้างในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคใต้ ไม่แตกต่างกัน และแนวทางการพัฒนา คือ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคใต้ควรส่งเจ้าหน้าที่ ให้มีการอบรมวิชาชีพ ควรกำหนดอัตราค่าจ้างตามวุฒิการศึกษา จัดให้มีสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษา พยาบาลเช่นเดียวกับข้าราชการหรือลูกจ้างประจำen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานของลูกจ้างen_US
dc.subjectวิธีการคำนวณของ Taro Yamaneen_US
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของลูกจ้างในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตภาคใต้en_US
dc.title.alternativeQUALITY OF WORK LIFE AN EMPLOYEE AT THE INSTITUTE OF PHYSICAL EDUCATION SOUTH CAMPUSen_US
dc.typeThesisen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Public Administration: Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
cover.pdf299.31 kBAdobe PDFดู/เปิด
abstract.pdf312.91 kBAdobe PDFดู/เปิด
content2.pdf162.58 kBAdobe PDFดู/เปิด
content3.pdf156.43 kBAdobe PDFดู/เปิด
content1.pdf318.25 kBAdobe PDFดู/เปิด
chapter3.pdf610.69 kBAdobe PDFดู/เปิด
chapter4.pdf2.24 MBAdobe PDFดู/เปิด
chapter5.pdf1.07 MBAdobe PDFดู/เปิด
chapter1.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด
chapter2.pdf5.83 MBAdobe PDFดู/เปิด
appendix 3.pdf614.51 kBAdobe PDFดู/เปิด
appendix 4.pdf655.18 kBAdobe PDFดู/เปิด
appendix 5.pdf303.57 kBAdobe PDFดู/เปิด
appendix 1.pdf893.35 kBAdobe PDFดู/เปิด
appendix 2.pdf449.5 kBAdobe PDFดู/เปิด
reference.pdf762.43 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น