กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/640
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุไรวรรณ ชูมีen_US
dc.date.accessioned2019-06-18T03:42:44Z-
dc.date.available2019-06-18T03:42:44Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/640-
dc.description.abstractผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อผู้ใต้บังคับบัญชาจึงต้องมีความรู้ความสามารถ และมีความฉลาดทางด้านอารมณ์ควบคู่กันด้วย เพื่อทำให้การบริหารสถานศึกษาบรรลุผลตามเป้าหมาย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 1,325 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 302 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่ม อย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ ได้แก่ การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับดังนี้ ความสามารถในการจูงใจตนเอง การควบคุมอารมณ์ของตนเอง การมีทักษะทางสังคม การตระหนักรู้ตนเอง และการเข้าใจผู้อื่น ผลการเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครู จำแนกตามประสบการณ์การสอน วุฒิการศึกษาและขนาดสถานศึกษาที่ปฏิบัติงาน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่เมื่อจำแนกตามเพศไม่แตกต่างกัน จาก ผลการวิจัยผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความสำคัญกับความฉลาดทางอารมณ์ และควรหาทางพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ของตนเอง เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectความฉลาดen_US
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาen_US
dc.titleการศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ ของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 อุไรen_US
dc.title.alternativeA STUDY OF THE EMOTIONAL INTELLIGENCE OF SCHOOL ADMINISTRATORS AS PERCEIVED BY TEACHERS UNDER SURATTHANI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en_US
dc.typeOtheren_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Development Strategy: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is-auriwan.pdf22.79 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น