กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1004
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปรัชญา ช่วยเจริญen_US
dc.contributor.authorมัทนียา พงศ์สุวรรณen_US
dc.contributor.authorสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์en_US
dc.date.accessioned2023-01-10T03:30:34Z-
dc.date.available2023-01-10T03:30:34Z-
dc.date.issued2566-01-10-
dc.identifier.citationบทความ, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1004-
dc.descriptionบทความวิจัย, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการของครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) พัฒนาคู่มือครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) ประเมินผลการใช้คู่มือครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษา คือ ครูผู้สอนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ความต้องการของครู และแบบประเมินความเหมาะสมของคู่มือครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัยมี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาความต้องการของครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ขั้นตอนที่ 2 พัฒนาคู่มือครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้คู่มือและประเมินผลการใช้คู่มือครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาความต้องการของครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบว่า ครูส่วนใหญ่มีความเห็นว่ากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์มีความสำคัญต่อผู้เรียน ดังนั้นโรงเรียนควรมีคู่มือครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เพื่อให้การจัดกิจกรรมของครูเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีประสิทธิภาพ 2) ผลการพัฒนาคู่มือ พบว่า คู่มือครูที่พัฒนาประกอบด้วยเนื้อหา 4 บท คือ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ บทที่ 3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ บทที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์สำหรับครู 3) ผลการใช้คู่มือ พบว่า โดยรวมคู่มือมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectการพัฒนาคู่มือครูen_US
dc.subjectกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์en_US
dc.subjectการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์en_US
dc.subjectระดับมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.titleการพัฒนาคู่มือครูในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนกระบุรีวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนองen_US
dc.title.alternativeTeacher’s Manual Development for Organizing Society and Public Benefits Activities for Senior High School at Kraburiwittaya School under The Secondary Educational Service Area Office Phang Nga, Phuket, and Ranongen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is66(adm)Pratchaya.pdfบทความวิจัย, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา481.01 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น